middle spirit
|
|
« ตอบ #495 เมื่อ: 04 ตุลาคม 2567, 05:23:18 » |
|
เราโกรธเขา เรายินดีกับความโกรธ พอใจในความโกรธอันนั้น อยากโกรธเขานั่นแหละเรียกว่า ยินดีพอใจในวิสัยของมาร หลวงปู่เทสก์ เทสรํสี
|
|
|
|
middle spirit
|
|
« ตอบ #496 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2567, 06:43:41 » |
|
ผู้ฝึกหัดปฏิบัติ รู้-เข้าใจเรื่องเหล่านี้ตามความเป็นจริงว่า วิสัยของอายตนะทั้ง 6 นั้น มีชอบกับไม่ชอบเท่านั้น แล้วปล่อยวางเสีย ไม่ไปยึดติดเป็นอารมณ์ ผู้จะอยู่เหนือโลก พ้นจากโลก ต้องรู้เรื่องของโลก คือ รู้อายตนะทั้ง 6 นั่นเอง แล้วจิตมันจะหยุดนิ่งเฉย ไม่เข้าไปปรุงแต่งและยึดถือ หลวงปู่เทสก์ เทสรํสี (จิตเหนือโลก หนังสือธรรมเทศนา หน้า 78)
|
|
|
|
middle spirit
|
|
« ตอบ #497 เมื่อ: 07 ตุลาคม 2567, 05:32:27 » |
|
การทำทาน เป็นผลให้จิตใจอิ่มเอิบเบิกบาน การที่จิตใจอิ่มเอิบเบิกบานมันเป็น อายุ วรรณะ สุขะ พละ ตรงนั้นแหละ จิตใจเบิกบานแล้วกายมันก็เบิกบาน สุขะมันเกิดขึ้น วรรณะมันก็เกิดขึ้นมาด้วยกัน มีความอิ่มอกอิ่มใจในการที่เราทำบุญ ทำทานวันหนึ่งๆ เราทำทาน มันอิ่มใจขึ้นมาทุกวัน ก็ได้ชื่อว่าเป็นของเราแล้วอันนั้น หลวงปู่เทสก์ เทสรํสี
|
|
|
|
middle spirit
|
|
« ตอบ #498 เมื่อ: 07 ตุลาคม 2567, 05:42:28 » |
|
สาธุ สาธุ สาธุ
|
.
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
middle spirit
|
|
« ตอบ #499 เมื่อ: 08 ตุลาคม 2567, 05:31:04 » |
|
ตัวกรรมนั้นเป็นต้นเหตุของทุกข์ ถ้าจะดับทุกข์ก็ต้องดับกรรม อันเป็นต้นเหตุ เมื่อไม่ทำกรรม คือใจไม่กระทำ มันก็หมดเรื่องกันไป มันก็ดับหมดเท่านั้นแหละ หลวงปู่เทสก์ เทสรํสี จากหนังสือเทสรังสีรำลึก
|
|
|
|
middle spirit
|
|
« ตอบ #500 เมื่อ: 09 ตุลาคม 2567, 06:40:21 » |
|
|
.
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
middle spirit
|
|
« ตอบ #501 เมื่อ: 10 ตุลาคม 2567, 05:16:58 » |
|
|
.
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
middle spirit
|
|
« ตอบ #502 เมื่อ: 10 ตุลาคม 2567, 05:20:16 » |
|
|
.
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
middle spirit
|
|
« ตอบ #503 เมื่อ: 11 ตุลาคม 2567, 07:53:58 » |
|
|
.
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
middle spirit
|
|
« ตอบ #504 เมื่อ: 12 ตุลาคม 2567, 05:53:52 » |
|
|
.
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
middle spirit
|
|
« ตอบ #505 เมื่อ: 14 ตุลาคม 2567, 05:02:03 » |
|
|
.
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
middle spirit
|
|
« ตอบ #506 เมื่อ: 15 ตุลาคม 2567, 06:22:38 » |
|
แท้ที่จริงนั้น แก่นสารของพระพุทธศาสนาแล้วคือ การปฏิบัติ กาย วาจา ใจ ของตนให้บริสุทธิ์ ตามคำสอนของพระพุทธองค์ หลวงปู่เทสก์ เทสรํสี (พระพุทธศาสนาสอนที่ใจ รหัส 3 หน้า 17)
|
.
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 15 ตุลาคม 2567, 06:24:13 โดย middle spirit »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
middle spirit
|
|
« ตอบ #507 เมื่อ: 16 ตุลาคม 2567, 05:23:24 » |
|
#ทาน_ศีล_ภาวนาต้องทำเอง "ทำทานมีมากมีน้อยก็ต้องทำด้วยตนเอง รักษาศีลก็โดยเฉพาะส่วนตัวแท้ๆ ใครรักษาศีลให้ไม่ได้ ทำสมาธิยิ่งลึกซึ้งหนักแน่นเข้าไปกว่านั้นอีก แต่ละคนก็ต้องรักษาจิตใจของตน ๆ ให้มีความสงบ หยุดวุ่นวายแส่ส่าย ถ้าเราไม่รู้จักวิธีทำสมาธิแล้ว ก็ทำสมาธิไม่เป็น จิตใจก็เดือดร้อนดิ้นรนเป็นทุกข์ เหตุนั้นจึงว่า การทำทาน รักษาศีล ทำสมาธินี่เป็นกิจเฉพาะส่วนตัว ทุกๆ คนจะต้องทำให้เกิดมีขึ้นในตน" หลวงปู่เทสก์ เทสรํสี วัดหินหมากเป้ง อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
|
.
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
middle spirit
|
|
« ตอบ #508 เมื่อ: 16 ตุลาคม 2567, 05:24:23 » |
|
#ทานคือการให้ "ความเมตตาปรารถนาหวังดี อันนั้นแหละได้ชื่อว่า ให้ทานโดยแท้" เขาทำทานเขาปรารถนาหวังดีแก่เรา "เราแผ่เมตตาถึงเขา ก็เรียกว่าให้ทาน ได้ให้น้ำใจเป็นทาน ให้อภัยทาน" นั้นเป็นเครื่องสนองตอบแทนซึ่งกันและกัน ทานนั้นมันมีหลายอย่าง เหลือที่จะคณานับ" แต่ความเป็นจริงแล้ว "ถ้าหากมีเจตนาหวังดี ปรารถนาความสุขให้กับคนอื่น" อันนั้นให้ชื่อว่าให้ทานโดยแท้" หลวงปู่เทสก์ เทสรํสี วัดหินหมากเป้ง อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย
|
.
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
middle spirit
|
|
« ตอบ #509 เมื่อ: 19 ตุลาคม 2567, 06:07:01 » |
|
ถ้าหากว่าตั้งสติตั้งจิต อบรมจิตตั้งอารมณ์ไม่ดีอารมณ์ไม่ตรง มันก็แปรปรวนไปในสิ่งต่างๆ ตั้งสติควบคุมมันก็ไม่อยู่ อันนั้นมันเหลวไหล ไปทุกเมื่อทุกยาม ทุกเวล่ำเวลาอย่างนั้นไม่ได้ อันนั้นใช้ไม่ได้ เราจึงควรระวังตัวของตน ให้หมั่นสอบฝึกฝนอบรมอยู่ตลอดเวลา หากว่ามันเป็นไปในทางเจริญก้าวหน้า ก็จะเห็นธรรมเกิดขึ้นมาในที่นั้น ถ้ามันไม่มีธรรมะเกิดขึ้นในที่นั้น มีแต่เหลวไหล แปลว่าเหลวไหลแล้วนั่น มันเสื่อมแล้ว ต้องพยายามเอาใหม่ทำใหม่ หัดตรงนี้ล่ะให้มันเข้าใจ มันได้แค่ไหน มันเจริญคล่องแคล่วแล้วเพียงไหน ตรงไหน ให้รู้ตัวตรงนี้จนเห็นที่ได้ที่ดี เห็นที่ได้ที่เสีย ถ้าหากมันได้ก็เจริญงอกงามขึ้นมา ธรรมะก็ปรากฏ ถ้ามันเสียมันก็เหลวไหล อันนั้นแปลว่าขาดทุน ไม่ต้องพิจารณาอื่นไกล ไม่ต้องอบรมที่อื่นที่ไกล เอาเท่านั้นก็พอ หลวงปู่เทสก์ เทสรํสี ตั้งอารมณ์ให้ถูก พ.ศ. ๒๕๒๖
|
.
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|