คนชอบพระ
|
 |
« ตอบ #15 เมื่อ: 27 ธันวาคม 2554, 14:39:04 » |
|
และในหนังสือเล่มนี้ ที่ผมวงสีแดงเอาไว้ คุณภักดีภูริบอกว่ารูปสมเด็จลุนนี้ได้มาจากหลวงปู่จันทร์หอม วัดบุ่งขี้เหล็ก 
|
|
|
|
คนชอบพระ
|
 |
« ตอบ #16 เมื่อ: 27 ธันวาคม 2554, 14:40:32 » |
|
ผมก็ไม่เคยปักใจเชื่อว่ารูปภาพไหนคือ ภาพสมเด็จลุน หลักฐานที่เอามาลงให้ทราบนี้ก็เพื่อให้เป็นข้อมูลแด่ทุกๆท่าน เอาไปสืบค้น อ้างอิง
|
|
|
|
คนชอบพระ
|
 |
« ตอบ #17 เมื่อ: 27 ธันวาคม 2554, 16:01:34 » |
|
จากบทความของอำพล เจน หลวงปู่พรหมา บอกว่า สมเด็จลุน หน้าละม้ายคล้ายกับหลวงปู่นาค วัดป่าใหญ่ ผมเลยลองเอาใบหน้ามาเทียบกันให้ดู แต่ผมไม่ขอฟันธงนะครับ 
|
.
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 16 พฤษภาคม 2555, 17:46:51 โดย คนชอบพระ »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Pruedthachon
|
 |
« ตอบ #18 เมื่อ: 29 เมษายน 2555, 10:40:16 » |
|
รูปนี้เป็นรูปที่ลูกศิษย์นำมาถวายวัดนาอุดมในภายหลังครับ ...
|
|
|
|
Pruedthachon
|
 |
« ตอบ #19 เมื่อ: 29 เมษายน 2555, 11:02:20 » |
|
ผมได้มีีโอกาสไป สปป.ลาว กับหลวงปู่อ่อง ฐิตธมฺโม แล้วเจ้าอาวาสวัดเวินไซ ได้มอบ 2 สิ่งให้กับผม 1. รูปสำเร็จลุน 2. ใบโพธิ์รูปสำเร็จลุน 3. ผมได้ถ่ายรูปเหมือนสำเร็จลุน ที่ตั้งอยู่หน้าพระธาตุที่บรรจุอัฐิธาตุสำเร็จลุน ที่วัดโพธิ์ไชยยาราม แขวงจำปาศักดิ์ สปป.ลาว ... ลองพิจารณาดูครับ ...
|
|
|
|
เต้ อุบล
|
 |
« ตอบ #20 เมื่อ: 29 เมษายน 2555, 17:16:50 » |
|
รูปนี้เป็นรูปที่ลูกศิษย์นำมาถวายวัดนาอุดมในภายหลังครับ ...
ความคิดเห็นส่วนตัวนะครับ พัดยศทรงหยดน้ำในลาวไม่น่าจะมีนะครับ พัดยศตราช้างเผือกก็น่าจะไม่มีในลาวนะครับ นาฬิกาก็น่าจะเป็นช่วงรัชการที่5ครับ ความคิดเห็นส่วนตัวนะครับ ถูก-ผิด ขออภัยครับ
|
|
|
|
คนโก้
|
 |
« ตอบ #21 เมื่อ: 30 เมษายน 2555, 15:17:12 » |
|
- อย่าลืมครับว่า ไทยเสียดินแดนจำปาสักให้กับฝรั่งเศษ เมื่อ ๑๒ พ.ค. ๒๔๔๖ (รศ.๑๒๒) ในสมัยรัชกาลที่ ๕ - สำเร็จลุน ชาตะ ๒๓๙๖ มรณะ ๒๔๖๖ สิริอายุรวม ๗๐ ปี - เมื่อครั้งไทยเสียดินแดนจำปาสัก สำเร็จลุนน่าจะมีอายุประมาณ ๕๐ ปีแล้ว - แสดงว่าเมื่อท่านอายุเยาว์ จนถึง ๕๐ ปีนั้น ท่านจะจำพรรษาที่ใดบ้างไม่ทราบ แต่จำปาสักขึ้นกับประเทศไทย ผิดถูกอย่างไรช่วยกันปรับปรุงครับ 
|
"ขุนผู้หาญคองเมืองจั่งเฮืองฮุ่ง ขุนขี้ย่านคองบ้านบ่ฮุ่งเฮือง"
|
|
|
เต้ อุบล
|
 |
« ตอบ #22 เมื่อ: 30 เมษายน 2555, 15:27:02 » |
|
ตอนนี้ได้ข้อมูลมาอ้างอิงอีกนิดหน่อยครับพัดไอยราพตพัดรองงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พุทธศักราช 2416 พื้นแพรปักไหมสีรูปพระเกี้ยว ประดิษฐานบนพานแว่นฟ้าเหนือรูปอาร์มตราไอยราพต พัดรองที่ระลึกงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พัดรองที่ระลึกนี้ ทำขึ้นเป็นที่ระลึกในงานพระราชพิธีบรมราชภิเษก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2416 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถวายพัดรองแด่สมเด็จพระราชาคณะ และพระราชาคณะ พัดรองนี้ชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "พัดไอราพต" (ช้างสามเศียร) จัดเป็นพัดรองที่เก่าแก่ที่สุดของเมืองไทย และเป็นพัดที่มีการตกแต่งด้วยการปักไหมเป็นครั้งแรก โดยสั่งปักมาจากเมืองจีน ทั้งนี้พระองค์มีความเห็นว่าช่างไทยมีความชำนาญ ในการปักดิ้นได้งามกว่าชาติอื่น แต่ไม่ชำนาญในการปักไหมเหมือนชาติจีน ภายหลังจึงมีการหัดปักไหมขึ้นจนมีความชำนาญ ความสยวงามของพัดนี้อยู่ที่ลวดลายในการปัก และการใช้ไหมสีที่ดูเด่นสะดุดตา งดงามสมพระเกียรติยิ่งนัก ปักลายพานแว่นฟ้า ซึ่งประดิษฐานพระจุลมงกุฎ ใต้ลงมาเป็นช้างสามเศียรขนาบด้วยราชสีห์และคชสีห์ รอบขอบพัดปักลายช่อดอกไม้อันอ่อนช้อย ส่วนนมพัดทำด้วยงา สลักเป็นรูปกลีบบัว และแกะลายพระราชลัญจกรประจำรัชกาลที่ 5 ด้ามพัดทำด้วยงา ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.baanjomyut.com/library/calendar/talapat/index.html
|
|
|
|
vs12
|
 |
« ตอบ #23 เมื่อ: 01 พฤษภาคม 2555, 14:53:30 » |
|
ดูกันเล่นๆครับ
|
|
|
|
บ่หัวซาผีบ้าเดินดิน
|
 |
« ตอบ #24 เมื่อ: 01 พฤษภาคม 2555, 15:20:16 » |
|
ช่วยขยายความหน่อยครับรูปด้านขวามือนี้มีที่มาอย่างไรครับ 
|
.
|
|
บันทึกการเข้า
|
ราคาพระคือการอุปทานหมู่ของมนุษย์ ศรัทธาต่างหากที่จะอยู่คู่กับเราตลอดไป
|
|
|
คนโก้
|
 |
« ตอบ #25 เมื่อ: 01 พฤษภาคม 2555, 15:55:55 » |
|
พัดรองด้านขวามือของพระคล้ายพัดไอยราพรตมากครับ แต่สำหรับพัดยศแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ด้านซ้ายมือของท่านคงไม่สามารถแยกแยะได้เพราะพัดยศทรงนี้จะมีลักษณะคล้ายกันมาก - ภาพนี้ก็สามารถสรุปได้ว่าถ่ายไว้ตั้งแต่ช่วงรัชกาลที่ ๕ เป็นต้นมา
|
"ขุนผู้หาญคองเมืองจั่งเฮืองฮุ่ง ขุนขี้ย่านคองบ้านบ่ฮุ่งเฮือง"
|
|
|
vs12
|
 |
« ตอบ #26 เมื่อ: 01 พฤษภาคม 2555, 16:01:36 » |
|
จากรูปหลวงปู่สำเร็จลุน รูปหยดน้ำเป็นพัดยศสมณศักดิ์ พระราชาคณะชั้นสมเด็จ ซึ่งจากรูปสมเด็จพระสังฆราช หรือพระราชาคณะชั้นรองลงไป จะวางด้านขวามือตามรูป
|
uthai08
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 01 พฤษภาคม 2555, 16:13:15 โดย vs12 »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vs12
|
 |
« ตอบ #27 เมื่อ: 01 พฤษภาคม 2555, 16:04:08 » |
|
ถ้ามี 2 ข้างน่าจะวางตามรูปนี้
|
uthai08
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 01 พฤษภาคม 2555, 16:14:00 โดย vs12 »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
เต้ อุบล
|
 |
« ตอบ #28 เมื่อ: 01 พฤษภาคม 2555, 16:10:36 » |
|
พัดรองด้านขวามือของพระคล้ายพัดไอยราพรตมากครับ แต่สำหรับพัดยศแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ด้านซ้ายมือของท่านคงไม่สามารถแยกแยะได้เพราะพัดยศทรงนี้จะมีลักษณะคล้ายกันมาก - ภาพนี้ก็สามารถสรุปได้ว่าถ่ายไว้ตั้งแต่ช่วงรัชกาลที่ ๕ เป็นต้นมา
พัดรองนี้ ไอยราพต แน่นอนครับ
|
.
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vs12
|
 |
« ตอบ #29 เมื่อ: 01 พฤษภาคม 2555, 16:27:22 » |
|
ความเห็นส่วนตัวนะครับ ผมว่ารูปซ้ายมือเป็นรูปวาดขึ้นมา และรูปขวามือคือรูปต้นแบบครับ
|
.
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|