เอกสารอ้างอิง๑ กฎหมายอยุธยาบางฉบับตราเมื่อเริ่มตั้งอยุธยา หรือก่อน เช่น กฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จ ประกาศใช้เมื่อ พ.ศ. ๑๘๘๔ กฎหมายลักษณะลักพา ประกาศใช้เมื่อ พ.ศ. ๑๘๙๙ (กฎหมายตราสามดวง (ฉบับโรงพิมพ์คุรุสภา) เล่ม ๓ หน้า ๙๔-๑๘๓ และหน้า ๑-๓๐ ตามลำดับ)
๒ เลขที่ ๓๙-๒ (อักษรลาว) ตู้ ๑๐๘ ชั้น ๑/๔ มัด ๙๒ (งานหนังสือตัวเขียนหอสมุดแห่งชาติ) มีเนื้อความเหมือนกับกฎหมายโคสาราช (สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๒๕๒๖)
๓ ดูรายละเอียดใน อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว. การวิเคราะห์สังคมเชียงใหม่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นตามฉบับใบลานภาคเหนือ. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ๒๕๑๙) หน้า ๔๓. ถิ่น รัตกนก, (ถอดความ) กฎหมายโคสารราษฎร์ (สถาบันวิจัยสังคมฯ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๒๕๑๖ หน้าคำนำ)
๔ ประชาชนที่อยู่ในเขตนาจังหันที่พระมหากษัตริย์อุทิศให้แก่วัดนั้น ไม่ต้องเสียภาษีอากรให้แก่รัฐ แต่เสียภาษีอากรให้แก่วัดแทน ดังอย่างศิลาจารึกวัดสรศักดิ์ หลักที่ ๙ ก. นายสรศักดิ์ได้ขอพระราชทานอากรจากนา (จังหัน) เพื่อถวายวัด ดูรายละเอียดในจารึกสมัยสุโขทัย (กรมศิลปากร, พิมพ์เนื่องในงานฉลอง ๗๐๐ ปี ลายสือไทย ๒๕๒๖) หน้า ๑๒๘-๑๓๔.
๕ เป็นตำแหน่งผู้ดูแลกิจการของวัด ในจารึกวัดสรศักดิ์ (หลักที่ ๙) เรียกว่า ?นายสังฆการี? ซึ่งมีหน้าที่รับสนองพระราชโองการด้วย (ดูจารึกสมัยสุโขทัย, กรมศิลปากร, ๒๕๒๖, หน้า ๑๓๐.)
๖ ในจารึกวัดแดนเมือง ๒ ว่า ?ในการเก็บพืชผลในเขตวัด ให้สังฆการีร่วมกับคนเมืองเก็บ และสิบกกให้เก็บไว้กับพระภิกษุกกหนึ่ง? ส่วนจารึกวัดจอมมณีว่า ?นากับอารามเป็นข้าวร้อยหนึ่งเอาหน่วยหนึ่ง?
๗ ศิลาจารึกวัดจอมมณี บรรทัดที่ ๑๕-๑๗
๘ ศิลาจารึกวัดศรีเมือง บรรทัดที่ ๒๘-๓๐
๙ ศิลาจารึกวัดมุจลินทร์ (ข.ก. ๘) ด้านที่ ๒ บรรทัดที่ ๗-๘
๑๐ ดูรายละเอียดใน จารึกสมัยสุโขทัย, (กรมศิลปากรจัดพิมพ์เนื่องในโอกาสฉลอง ๗๐๐ ปีลายสือไทย ๒๕๒๖) หน้า ๗๒ ? ๗๓.
๑๑ เรื่องเดียวกัน หน้า ๑๑๓ ? ๑๑๔. ข้อสังเกตข้าโอกาสแต่งงานจะได้เป็นไทยและมีหน้าที่เลี้ยงดูแม่ฝ่ายชาย
๑๒ เรื่องเดียวกัน หน้า ๑๔๓
๑๓ ศิลาจารึกวัดอโศการาม พระราชเทพีศรีจุฬาลักษณ์ฯ (ชายาสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช) ได้อุทิศข้าโอกาส ๕๐ เรือน นาข้าวที่ได้ข้าวปีละ ๒๕ เกวียนแก่วัดอโศการาม ส่วนศิลาจารึกวัดเขมานั้น พระยาศรีธรรมาโศกราช อุทิศนา ๒๐ ไร่ และบาผ้าขาวเทพอุทิศอำแดงยอด (เมีย) อำแดงยศ (น้อง) และอีบุนรัก (ลูก) ไว้เป็นข้าโอกาสปรนนิบัติพระสงฆ์
๑๔ ดูรายละเอียดในการสร้างวัดป่ามะม่วงต้อนรับพระมหาสวามีสังฆราช จากนครพัน (ศิลาจารึกหลักที่ ๔) จารึกสมัยสุโขทัย, ๒๕๒๖, หน้า ๒๒๒ ? ๒๓๕.
๑๕ เรื่องเดียวกัน หน้า ๒๔ ? ๒๕.
๑๖ ดูรายละเอียดใน ศิลาจารึกคำปู่สบถ (หลักที่ ๖๔) และศิลาจารึกปู่ขุนจิตขุนจอด (หลักที่ ๔๕) พ.ศ. ๑๙๓๕ จะเห็นว่าเจ้าเมืองนันทบุรี (น่าน) และกษัตริย์สุโขทัย เป็นเครือญาติกัน
๑๗ ดูรายละเอียดใน ?ศิลาจารึกกษัตริย์ราชวงศ์มังราย ลพ.๙? ในวารสารศิลปากร ปีที่ ๒๔ เล่มที่ ๒ เดือนพฤษภาคม ๒๕๒๓ หน้า ๔๒ ? ๕๑.
๑๘ ธรรมเนียมของประเทศลังกาจะอุทิศจนกว่าพระอาทิตย์พระจันทร์ไม่ส่องแสง ดูในประชุมศิลาจารึกศรีลังกา Epigraphia Zeylanica Vol.1 (Reprited by Aitken Spence Co., Ltd., Colombo, 1976) PP. 192 ? 200.
๑๙ ในลังกาไม่เพียงแต่จะสาปแช่งให้ตกนรกอเวจีแล้ว ยังสาปแช่งให้เกิดเป็นหมาเป็นกา ดูเรื่องเดียวกัน หน้า ๑๙๒ ? ๒๐๐.
๒๐ เจ้าชายมุย เจ้าเมืองปากห้วยหลวง และได้ไปปกครองเมืองเวียงจันทน์ซึ่งเป็นหัวเมืองสำคัญรองจากเมืองหลวงพระบาง พ.ศ. ๑๙๙๙ ? ๒๐๒๑.
๒๑ จารึกสมัยสุโขทัย (กรมศิลปากรจัดพิมพ์เนื่องในโอกาสฉลอง ๗๐๐ ปีลายสือไทย ๒๕๒๖), หน้า ๓๑๙ ? ๓๓๔.
๒๒ เรื่องเดียวกัน หน้า ๑๒๘ ? ๑๓๔. ในศิลาจารึกวัดสรศักดิ์ ได้ให้รายละเอียดไว้ว่า นากับมหาเจดีย์บ้าง นากับมหาวิหารบ้าง นาจังหันบ้าง นากับหอพระบ้าง นากับพระเจ้าหย่อยตีน (พระพุทธรูปนั่งห้อยพระบาท ปางป่าเลไลย์) นากับเจ้าจงกรมในจาริก (พระพุทธรูปปางลีลา) บ้าง แสดงให้เห็นถึงสัดส่วนของภาษีที่จะใช้บำรุงศาสนสถานแลศาสนวัตถุซึ่งเจ้าศรัทธาได้จัดสัดส่วนไว้แล้ว
๒๓ ประสาน บุญประคออง และเทิม มีเต็ม ?ศิลาจารึกกษัตริย์ราชวงศ์มังราย ลพ.๙? วารสารศิลปากร, ปีที่ ๒๔ เล่มที่ ๒ เดือนพฤษภาคม ๒๕๒๓, หน้า ๔๒ ? ๕๑.
๒๔ ศิลาจารึกคชพาหุ พ.ศ. ๗๒๐ ? ๗๔๔ กล่าวถึงกษัตริย์ ?คชพาหุ คามณีอภัย? สร้างสระน้ำและให้ที่ดินแก่ชุมชนสงฆ์ ดุประชุมศิลาจารึกศรีลังกา Vol. 1 (เรื่องเดียวกัน) หน้า ๒๑๑.
๒๕ ความเห็นของ Prof. Rohana Deera มหาวิทยาลัยชัยวัฒนปุระ แห่งประเทศศรีลังกา สัมภาษณ์เมื่อวันที่ ๔ - ๕ กรกฎาคม ๒๕๒๙
๒๖ กรมศิลปากร, ประชุมศิลาจารึกภาคที่ ๒ (โครงการส่งเสริมหนังสือตามแนวพระราชดำริ, ๒๕๒๖) หน้า ๑๖ ? ๑๗.
๒๗ การอุทิศนาจังหันให้วัดของกษัตริย์อยุธยาจะทำให้ยากมาก เพราะขัดกับระบบศักดินาของอยุธยาที่กำหนดให้ไพร่ทุกคนสังกัดมูลนาย ซึ่งกฎหมายนี้ใช้ตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้น
๒๘ ดูรายละเอียดใน ?ศิลาจารึกวัดมุจลินทอาราม? ใน ธวัช ปุณโณทก. ศิลาจารึกอีสานาสมัยไทย ? ลาว : การศึกษาด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์. (โรงพิมพ์คุณพินอักษรกิจ, ๒๕๓๑) หน้า ๒๘๙ ? ๒๙๐.
๒๙ ดูรายละเอียดในศิลาจารึกวัดบ้านริมท่าวัด ตำบลดงชน อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร เรื่องเดียวกัน หน้า ๓๑๗ ? ๓๒๐.
๓๐ พงศาวดารลาว ฉบับกระทรวงศึกษาธิการลาว (ไม่ปรากฏโรงพิมพ์, ๒๕๐๐) หน้า ๗๙.
๓๑ พระสมุทโฆส เป็นพระเถระสำคัญที่ประพันธ์เรื่องขุนบรม (ตอนต้น)
๓๒ เรื่องเดียวกัน หน้า ๗๖.
๓๓ ดูรายละเอียดในประชุมศิลาจารึกศรีลังกา (Epigraphia Zeylanica, Vol. 2 Oxford University Press, 1928) pp. 38.
๓๔ พงศาวดารย่อเมืองเวียงจันทน์ว่า ?ศักราช ๑๔๑ (พ.ศ. ๒๓๒๒) ปีกัดไค้ (ปีกุน) เดือน ๑๑ แรม ๓ ค่ำ วันจันทร์ แตกเศิกไทยวันนั้น? (ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๗๐. โรงพิมพ์พระจันทร์. พ.ศ. ๒๔๘๔. หน้า ๑๘๙.)
๓๕ ศิลาจารึกวัดป่าใหญ่ ๒ ในธวัช ปุณโณทก, ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย ? ลาว : การศึกษาทางด้านอักขรวิทยาและประวัติศาสตร์อีสาน. (โรงพิมพ์คุณพินอักษรกิจ. พ.ศ. ๒๕๓๑) หน้า ๓๗๔ ? ๓๗๕.
๓๖ เรื่องเดียวกัน หน้า ๓๗๔
๓๗ เติม วิภาคย์พจนกิจ. ประวัติศาสตร์อีสาน. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. พ.ศ. ๒๕๓๐, หน้า ๕๙๑.
ขอขอบคุณข้อมูลดีๆจาก
http://blog.eduzones.com/tambralinga/15424